กลุ่มเครือข่ายเลี้ยงไก่พื้นเมืองประดู่หางดำเวียงเชียงรุ้ง มอบหมายให้นายสุรพงค์ มณีวรรณ กรรมการกลุ่มเข้าร่วมประชุมสัมนา Digital Marketing ของโครงการ Lanna green tourism network ต่อการสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายท่องเที่ยวสีเขียวกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ของจังหวัดเชียงราย เพื่อสร้างการสื่อสารประชาสัมพันธ์ข้อมูลการท่องเที่ยวของเชียงรายผ่าน www.thailandtourismdirectory.go.th เมื่อวันที่ 27-29 มีนาคม 2562
โครงการส่งเสริมการตลาดไก่ประดู่หางดำของเกษตรกรรายย่อยจังหวัดเชียงราย เพื่อสร้างอาชีพและรายได้อย่างยั่งยืน เป็นโครงการที่สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ดำเนินการในพื้นที่บ้านห้วยห้าง ตำบลป่าซาง อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย..เพื่อให้ไก่พื้นเมืองไทยแท้ ประดู่หางดำเชียงใหม่๑ คงอยู่เป็นของคนไทยกับชุมชนท้องถิ่นไทยอย่างยั่งยืน ติดต่อศึกษาดูงานหรือชื้อลูกไก่ประดูหางดำไปทำพันธุ์ และมีไก่สดแช่แข็งจำหน่าย โทร 08-0130-8420 หรือ 08-9838-1597
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2562
วันเสาร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2562
ประชุมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายท่องเที่ยวสีเขียว lanna green tourism network เชื่อมโยงจับคู่เครือข่ายสีเขียวกลุ่มเกษตรกร และเครือข่ายร้านอาหารและโรงแรม one community one business(ocob)
กลุ่มเครือข่ายเลี้ยงไก่พื้นเมืองประดู่หางดำเวียงเชียงรุ้ง มอบหมายให้นายสุรพงค์ มณีวรรณ กรรมการกลุ่ม เข้าร่วมประชุมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายท่องเที่ยวสีเขียว lanna green tourism network เชื่อมโยงจับคู่เครือข่ายสีเขียวกลุ่มเกษตรกร และเครือข่ายร้านอาหารและโรงแรม one community one business(ocob) ที่ห้องประชุมโรงแรมคงการ์เด้นท์วิว รีสอร์ทเชียงราย เมื่อวันที่ ๑-๓ มีนาคม ๒๕๖๒
ลงนามจับคู่การเชื่อมโยงเครือข่ายท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อขับเคลื่อนงาน Green Tourism สร้างการทำงานเครือข่ายสีเขียวให้มีความเข็มแข็ง
ด้านไก่พื้นเมืองยังติดเรื่องตัวมาตรฐานต่างๆที่ผ่านการรับรองยากและตัวเกษตรกรรายย่อยเองยังไม่ปปรับเปลี่ยนแนวคิดการเลี้ยงการแปรรูปเท่าที่ควร
ลงนามจับคู่การเชื่อมโยงเครือข่ายท่องเที่ยวสีเขียว เพื่อขับเคลื่อนงาน Green Tourism สร้างการทำงานเครือข่ายสีเขียวให้มีความเข็มแข็ง
ด้านไก่พื้นเมืองยังติดเรื่องตัวมาตรฐานต่างๆที่ผ่านการรับรองยากและตัวเกษตรกรรายย่อยเองยังไม่ปปรับเปลี่ยนแนวคิดการเลี้ยงการแปรรูปเท่าที่ควร
วันศุกร์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2562
ส่งตัวแทนกลุ่มอบรมผู้จัดการแปลงใหญ่
เครือข่ายกลุ่มเลี้ยงไก่พื้นเมืองประดู่หางดำเวียงเชียงรุ้ง มอบให้นายประสงค์ อุ่นติ๊บ กรรมการกลุ่มเข้าอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ "โครงการการพัฒนาเกษตรกรเป็นผู้จัดการแปลง"ในระหว่างวันที่ ๑๐-๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ี่โรงแรมเชียงใหม่ ออคิด ชึ่งจัดโดยสำนักงานส่งเสริมและพํฒนาการเกษตรี่๖ จังหวัดเชียงใหม่และสำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
ประชุมร่างระเบียบข้อบังคับกลุ่มวิสาหกิจไก่นิลเวียงเชียงรุ้งและให้ข้อมูลเตรียมความพร้อมสำหรับโครงการ xyz
วันนี้25กุมภาพันธ์2562 ทีมงานวิจัยประกอบด้วยนายสุพล ปานพาน นายไชยนิรันตร์ สุนันตะ๊ และนายสันติ พรพิพัฒศิริ ร่วมประชุมร่างระเบียบข้อบังคับกลุ่มวิสาหกิจไก่นิลเวียงเชียงรุ้ง ครั้งที่ ๔ ให้เกิดความเข้มแข็งมากขึ้น และให้ข้อมูลเตรียมความพร้อมสำหรับโครงการ xyz = โครงการสินเชื่อชุมชนปรับเปลี่ยนการผลิตเพื่อพัฒนาอาชีพของผู้มีรายได้น้อย ณ กลุ่มผู้เลี้ยงตำบลทุ่งก่อ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย มีสมาชิกแกนนำมาร่วมประชุม 12 ราย
"""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""
เมื่อวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๖๒ นายสันติ พรพิพัฒสิริ นักวิชาการสัตวบาลชำนาญการ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงราย นายสุพล ปานพาน ปศุสัตว์อำเภอเวียงเชียงรุ้ง นางสาวสุภิชญา นัยติ๊บ ผู้ช่วยงานวิจัยไก่ประดู่หางดำฯ ดำเนินการประชุมระดมสมองการสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มผู้เลี้ยงไก่ประดู่หางดำในพื้นที่ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง ครั้งที่ ๒ให้เป็นระบบครบวงจร มีแกนนำของเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงไก่พื้นเมืองประดู่หางดำ ร่วมระดมสมอง ๑๐ คน ผลการระดมสมองทำให้เกิดกลุ่มระดับอำเภอร่วมทุนสร้างกลุ่มไก่นิลเวียงเชียงรุ้ง ขับเคลื่อนกิจกรรมให้มีประชุมหารือกันทุกเดือนกันต่อไป
"""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""
วันนี้ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ คณะกรรมการบริหารเครือข่ายไก่พื้นเมืองแปลงใหญ่อำเภอเวียงเชียงรุ้ง ประชุมหารือวางแผนการผลิตการตลาด ครั้งที่ 3 ให้สอดคล้องกัน พร้อมทั้งมีการระดมทุนของกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มให้มีมากยิ่งขึ้นด้วย ที่บ้านของประธานกลุ่มนายสุขแก้ว มณีจันทร์สุข บ้านดงชัย ตำบลทุ่งก่อ อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย
"""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""""
..................................................................................................................................................................
ทีมงานวิจัยโครงการส่งเสริมการตลาดไก่ประดู่หางดำฯจัดประชุมอบรมแกนนำของเครือข่ายวิสาหกิจเลี้ยงไก่พื้นเมืองประดู่หางดำในพื้นที่อำเภอเวียงเชียงรุ้ง ครั้งที่๑ เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการรวมแรงทำการตลาด ไก่ประดู่หางดำให้เข้มแข็ง ครบวงจร แก้ไขปัหาการขายไก่ไม่ออกบางช่วงฤดูหรือการถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๖๑ ณ ที่ทำการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ไก่ประดู่หางดำบ้านห้วยห้าง ำบลปป่าซาง อำเภอเวีงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย
วันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
ประชุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ทีมงานวิจัยสร้างตลาดไก่ประดู่ฯเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนกับผู้ทรงคุณวุฒิ ทีมวิจัยหลายๆชุดโครงการและคณะทีมประสานงานอาจารย์ม.แม่โจ้ เมื่อเช้าวันที่16 กุมภาพันธ์ 2562 ที่ห้องประชุมคณบดี ม.แม่โจ้ เพื่อติดตามการดำเนินการวิจัยว่าได้ตอบวัตถุประสงค์โจทย์วิจัยของแต่ละทีม ตลอดจนการนำข้อมูลต่างๆที่ได้เก็บรวบรวมมาวิเคราะห์แล้วเขียนผลงานการวิจัยส่งให้ผู้ทรงได้ตรวจแนะนำก่อนจะสิ้นสุดดำเนินการโครงการวันที่ 15เมษายน 2562. นอกจากนี้ยังมีจนท.แมคโครมานำเสนอการสนับสนุนกลุ่มเกษตรกร
ท่านอาจารย์จันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ ได้ให้ข้อคิดการทำงานวิจัยว่าอย่างน้อยก็ได้เห็นความก้าวหน้าของเกษตรกรแต่ละกลุ่ม และเมื่องานวิจัยจบแล้ว ควรจะมีการส่งเสริมกระบวนการธุรกิจที่มีแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำๆสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรให้อยู่ได้เพราะถ้าขาดทุนในการดำเนินการต่อไปคงจะอยู่ไม่ได้ โดยหลักการไม่ใช่การลดแลกแจกแถมซึ่งมันจะไม่ยั่งยืน เป็นธุระกิจที่มีคุณธรรม รับผิดชอบต่อสิงแวดล้อมชุมชน สังคม เกษตรกรเองก็ไม่ขาดทุน อยู่ได้ และไม่มีการอุ้มเกษตรกรเพราะถ้าอุ้มก็ต้องอุ้มไปตลอดชีวิต ไปไม่รอด ท่านกล่าวถึงความเป็นธรรม ที่ไม่ใช่ความเท่าเที่ยม เป็นความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ธุรกิจการค้าขายผลผลิตต้องมีความสมเหตุสมผล ของผลตอบแทน สอดคล้องกับวิธีการทำงานธุระกิจแบบSE(Socill Enterprise) ไม่เอามากจนคนอื่นอดาย ไม่ตีคนอื่นตายแล้วตัวเองรอด ผิดกับ CSR(Corporate Social Responsibility) คือการนำผลลกำไรเพียงส่วนเล็กน้อยมาจัดกิจกรรมทางสังคม
ท่านอาจารย์จันทร์จรัส เรี่ยวเดชะ ได้ให้ข้อคิดการทำงานวิจัยว่าอย่างน้อยก็ได้เห็นความก้าวหน้าของเกษตรกรแต่ละกลุ่ม และเมื่องานวิจัยจบแล้ว ควรจะมีการส่งเสริมกระบวนการธุรกิจที่มีแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำๆสนับสนุนกลุ่มเกษตรกรให้อยู่ได้เพราะถ้าขาดทุนในการดำเนินการต่อไปคงจะอยู่ไม่ได้ โดยหลักการไม่ใช่การลดแลกแจกแถมซึ่งมันจะไม่ยั่งยืน เป็นธุระกิจที่มีคุณธรรม รับผิดชอบต่อสิงแวดล้อมชุมชน สังคม เกษตรกรเองก็ไม่ขาดทุน อยู่ได้ และไม่มีการอุ้มเกษตรกรเพราะถ้าอุ้มก็ต้องอุ้มไปตลอดชีวิต ไปไม่รอด ท่านกล่าวถึงความเป็นธรรม ที่ไม่ใช่ความเท่าเที่ยม เป็นความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ธุรกิจการค้าขายผลผลิตต้องมีความสมเหตุสมผล ของผลตอบแทน สอดคล้องกับวิธีการทำงานธุระกิจแบบSE(Socill Enterprise) ไม่เอามากจนคนอื่นอดาย ไม่ตีคนอื่นตายแล้วตัวเองรอด ผิดกับ CSR(Corporate Social Responsibility) คือการนำผลลกำไรเพียงส่วนเล็กน้อยมาจัดกิจกรรมทางสังคม
วันพฤหัสบดีที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2562
สร้างจุดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ไก่ประดู่หางดำ
นายไชยนิรันตร์ สุนันต๊ะ ปศอ.ขุนตาลและนายสุพล ปานพาน ปศอ.เวียงเชียรุ้ง ร่วมกันสร้างจุดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ไก่ประดู่หางดำ ของเครือข่ายแปลงใหญ่ไก่พื้นเมืองให้เป็นการประชาสัมพันธ์และขยายการตลาดให้กว้างยิ่งขึ้นช่วยเหลือกลุ่มเกษตรกร ชึ่งในเมืองเชียงรายมีจุดจำหน่าย3จุดที่ร้านฟาร์มคุณหมอหน้าตลาดป่าก่อ ร้านราชโยธาสัตวแพทย์ และบ้านพักสัตวแพทย์สันโค้งน้อย
วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2562
กรรมการกลุ่มเข้าร่วมประชุมสัมมนา สร้างความเข้มแข็งเครือข่ายท่องเที่ยวสีเขียวสู่การพัฒนา
เมื่อวันที่ 17-19 ธันวาคม 2561 กลุ่มเครือข่ายเกษตรกรเลี้ยงไก่ประดู่หางดำฯ มอบหมายให้นายสุรพงค์ มณีวรรณ และนายเจียม ทาวัน กรรมการกลุ่มเข้าร่วมประชุมสัมมนา สร้างความเข้มแข็งเครือข่ายท่องเที่ยวสีเขียวสู่การพัฒนา ที่จัดโดยการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงรายเพื่อเป็นการหาเกษตรกรเชื่อมโยงกับตลาดรับซื้อ ซึ่งจะมีผู้ซื้อมารองรับการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เช่น s&p ร้านอาหาร โรงแรม โรงเรียน โรงพยาบาล บูรณาการทุกส่วน ซึ่งเชียงรายเป็นต้นแบบเรื่องการท่องเที่ยวสีเขียว ที่มีคณะมาท่องเที่ยวศึกษาดูงาน จนสร้างรายได้ให้กับชุมชนต่างๆ ทั้งโรงแรมร้านอาหาร ต้องใช้พลังบวกขับเคลื่อนร่วมกัน
วันอังคารที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562
ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ผลิตภัณฑ์จากไไก่ประดู่หางดำ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)